19 April 2008

Erythropoietin definition

Erythropoietin (EPO): A hormone produced by the kidney that promotes the formation of red blood cells in the bone marrow. EPO is a glycoprotein (a protein with a sugar attached to it). Human EPO has a molecular weight of 34,000.

The kidney cells that make EPO are specialized and are sensitive to low oxygen levels in the blood. These cells release EPO when the oxygen level is low in the kidney. EPO then stimulates the bone marrow to produce more red cells and thereby increase the oxygen-carrying capacity of the blood.

EPO is the prime regulator of red blood cell production. Its major functions are to promote the differentiation and development of red blood cells and to initiate the production of hemoglobin, the molecule within red cells that transports oxygen.

Dental Consideration in Chronic renal failure

ผู้ป่วย Chronic renal failure มักจะต้องได้รับการ hemodialysis ซึ่งจะมีการทำ Arteriovenous fistula ด้วย Prosthesis ไว้ ก่อนรักษาทางทันตกรรมที่ก่อให้เกิดเลือดออกจึงควรให้ Antibiotic prophylaxis ด้วย และ renal ยังเกี่ยวข้องกับการสร้าง red blood cell และ white blood cell ด้วย

ผู้ป่วยที่ต้องทำ hemodialysis มักต้องทานยาพวก warfarin หรือฉีด heparin จึงควรประเมินภาวะ bleeding ก่อนทำหัตถการ โดยมักทำหลังจาก hemodialysis 1 วันเนื่องจากหมดฤทธิ์ของยาห้ามเลือด(heparin half-life 90 min) และทำให้แผลหายเร็วกว่า ป้องกันการติดเชื้อ(เนื่องจากเลือดพึ่งฟอกเสร็จ ประสิทธิภาพในการ healing ก็จะดีกว่า)

Chronic renal failure จะทำให้มีการสร้าง Vitamin D ไม่เพียงพบ ซึ่ง Vitamin D ทำหน้าที่ดูดซึม Ca2++ จากลำไส้เล็ก ถ้าขาด Vit D จะทำให้เป็น secondary hyperparathyroidism ทำให้กระตุ้นให้สร้าง parathyroid hormone มากขึ้นเพื่อเพิ่ม Ca2++ ในเลือด จึงทำให้ metabolism ของกระดูกเปลี่ยนไปเนื่องจากไปดึง Ca2++ ออกจากกระดูก(bone resorption)

ดังนั้นผู้ป่วย chronic renal failure มักจะเกิดร่วมกับ secondary hyperparathyroidism ซึ่งจะทำให้เกิดปัญหาของการสร้างกระดูกหลังถอนฟันได้ (ในผู้ป่วยอายุน้อยที่เป็น chronic renal failure มักจะมีรูปร่างเล็ก ฟันไม่ขึ้นตามอายุ ก็เนื่องจากสาเหตุนี้เช่นกัน)

13 April 2008

Antibiotic Prophylaxis in dental procedure (2007)

การให้ Antibiotic เพื่อป้องกัน IE (Infective endocarditis) ของเมื่อปี 1997 จะให้ในผู้ป่วยที่มี underlying disease ดังนี้

  • mitral valve prolapse
  • rheumatic heart disease
  • bicuspid valve disease
  • calcified aortic stenosis
  • congenital heart conditions such as ventricular septal defect, atrial septal defect and hypertrophic cardiomyopathy.
แต่ปัจจุบัน Regiment ใหม่ได้เปลี่ยนไป เหลือให้ในผู้ป่วยที่มี Underlying ดังต่อไปนี้
  1. artificial heart valves
  2. a history of infective endocarditis
  3. certain specific, serious congenital (present from birth) heart conditions, including
    • unrepaired or incompletely repaired cyanotic congenital heart disease, including those with palliative shunts and conduits
    • a completely repaired congenital heart defect with prosthetic material or device, whether placed by surgery or by catheter intervention, during the first six months after the procedure
    • any repaired congenital heart defect with residual defect at the site or adjacent to the site of a prosthetic patch or a prosthetic device
  4. a cardiac transplant that develops a problem in a heart valve.

ถ้าดูจาก regiment ของปี 2007 แล้วจะเห็นว่าพวก VSD ASD ไม่ต้องให้ antibiotic prophylaxis เนื่องจากพวกนี้ถือเป็น congenital heart disease แบบไม่เขียว (non-cyanotic)

มันมีเหตุผลที่พิจารณาเปลี่ยน regiment ก็คือ underlying disease ที่ผู้ป่วยมีนั้นเมื่อเกิด IE แล้วถึงแก่ชีวิตหรือไม่ อย่าง Mitral value prolapse โอกาสเกิด IE ก็สูงพอสมควรแต่ว่าเมื่อเกิดแล้วไม่ถึงแก่ชีวิต แต่ถ้าเป็น Artificial heart values นั้นถ้าเกิด IE แล้วโอกาสเสียชีวิตมีสูง ดังนั้น regiment ใหม่จึงให้ไม่ต้องให้ prophylaxis ในผู้ป่วย MVP

แต่ก็มีข้อควรระวังที่ว่าถ้าผู้ป่วยมีโรคอื่นร่วมด้วย เช่น เบาหวาน ไตวาย ภูมิคุ้มกันไม่ดี โอกาสที่จะเสียชีวิตเมื่อมีการเกิด IE ก็จะสูงมากขึ้น

อีกเหตุผลที่ทำให้เปลี่ยน regiment เพราะว่า evidence base research มันไม่ได้ให้ผลที่เด่นชัดว่าการให้ prophylaxis มันป้องกัน IE ได้จริงหรือไม่ ควรจะไปป้องกันในการส่งเสริม oral health มากกว่า เนื่องจากถ้า oral health ไม่ดีแค่การ แปรงฟัน flossing ก็ทำให้เกิด IE ได้แล้ว

และการให้ Antibiotic เกินความจำเป็นยังทำให้เกิดการดื้อยาของ bacterial และผลข้างเคียงอื่นๆ
ก่อนจ่าย antibiotic ใดๆก็ควรพิจารณาถึงข้อดี ข้อเสีย ก่อนที่วันหนึ่งจะไม่มียา antibiotic ให้ใช้รักษาเนื่องจาก bacteria มันดื้อยาหมดแล้ว




08 April 2008

BSSO(Bilateral sagittal split osteotomy) VIDEO CLIP

เอา Clip BSSO(Bilateral sagittal split osteotomy) มาฝาก